2017.09.05 : งานเสวนาวิชาการจุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย ครั้งที่ 3 เรื่อง "สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม"
งานเสวนาวิชาการจุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย ครั้งที่ 3 เรื่อง
"สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม"
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แผนที่เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความเป็นชาติ ชาวสยามเรียนรู้เทคนิควิทยาการทำแผนที่สมัยใหม่ และนำมาใช้ทำแผนที่เมือง แผนที่มณฑล และแผนที่พระราชอาณาเขต สร้างความตระหนักรู้ในภูมิลักษณ์ของพระราชอาณาจักรสยาม ในท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง เป็นพื้นฐานของการพัฒนา สร้างบ้านแปงเมือง สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
นิทรรศการ สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม นำเสนอแผนที่ประวัติศาสตร์จากพิพิธภัณฑ์กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย สำนักพิมพ์ต้นฉบับ ห้องหนังสือหายาก สำนักงานวิทยทรัพยากร ห้องปฏิบัติการแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนแหล่งเอกสารส่วนบุคคลอื่นๆ เพื่อสะท้อนบทบาทและความสำคัญของแผนที่ในประวัติศาสตร์ไทย ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จวบจนปัจจุบัน
วันอังคารที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจากคุณสิริกิติยา เจนเซน มาร่วมฟังบรรยายตลอดทั้งงาน
ตั้งแต่ ๘.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ชั้น ๗ สำนักงานวิยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจากคุณสิริกิติยา เจนเซน มาร่วมฟังบรรยาย
วิทยากร
1. แผนที่จารชนสงคราม : ธนบุรี – กรุงเทพฯ
รองศาสตราจารย์ ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ช่วงสยามในแผนที่
2. การทำแผนที่ในแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีรศรี โพวาทอง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. แผนที่ประวัติศาสตร์กับการศึกษาพัฒนาการทางกายภาพเมือง
ศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต จุลาสัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. แผนที่ประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑ์ภักดีภูธร กรมแผนที่ทหาร
พันตรีนิทัศน์ ชิตโสภณ ภัณฑารักษ์ แผนกห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ กรมแผนที่ทหาร
ช่วงแผนที่ในสยาม
5. เปิดหน้าประวัติศาสตร์สยาม แผนที่กรุงเทพฯ ธนบุรี
นายธงชัย ลิขิตพรสวรรค์ นายกสมาคมจดหมายเหตุไทย
6. แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๔๘o
นายมิกิ ซาคาเอะ ศาสตราจารย์มูราชิมา เออิจิ Graduate School of Asia-Pacific Studies, Waseda University
7. ความลับของแผนที่กรุงเทพฯ ฉบับภาษาจีน
นายสมชัย กวางทองพาณิชย์
งานเสวนาวิชาการจุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย ครั้งที่ 3 เรื่อง
"สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม"
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แผนที่เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความเป็นชาติ ชาวสยามเรียนรู้เทคนิควิทยาการทำแผนที่สมัยใหม่ และนำมาใช้ทำแผนที่เมือง แผนที่มณฑล และแผนที่พระราชอาณาเขต สร้างความตระหนักรู้ในภูมิลักษณ์ของพระราชอาณาจักรสยาม ในท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง เป็นพื้นฐานของการพัฒนา สร้างบ้านแปงเมือง สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
นิทรรศการ สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม นำเสนอแผนที่ประวัติศาสตร์จากพิพิธภัณฑ์กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย สำนักพิมพ์ต้นฉบับ ห้องหนังสือหายาก สำนักงานวิทยทรัพยากร ห้องปฏิบัติการแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนแหล่งเอกสารส่วนบุคคลอื่นๆ เพื่อสะท้อนบทบาทและความสำคัญของแผนที่ในประวัติศาสตร์ไทย ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จวบจนปัจจุบัน
วันอังคารที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจากคุณสิริกิติยา เจนเซน มาร่วมฟังบรรยายตลอดทั้งงาน
ตั้งแต่ ๘.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ชั้น ๗ สำนักงานวิยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจากคุณสิริกิติยา เจนเซน มาร่วมฟังบรรยาย
วิทยากร
1. แผนที่จารชนสงคราม : ธนบุรี – กรุงเทพฯ
รองศาสตราจารย์ ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ช่วงสยามในแผนที่
2. การทำแผนที่ในแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีรศรี โพวาทอง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. แผนที่ประวัติศาสตร์กับการศึกษาพัฒนาการทางกายภาพเมือง
ศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต จุลาสัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. แผนที่ประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑ์ภักดีภูธร กรมแผนที่ทหาร
พันตรีนิทัศน์ ชิตโสภณ ภัณฑารักษ์ แผนกห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ กรมแผนที่ทหาร
ช่วงแผนที่ในสยาม
5. เปิดหน้าประวัติศาสตร์สยาม แผนที่กรุงเทพฯ ธนบุรี
นายธงชัย ลิขิตพรสวรรค์ นายกสมาคมจดหมายเหตุไทย
6. แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๔๘o
นายมิกิ ซาคาเอะ ศาสตราจารย์มูราชิมา เออิจิ Graduate School of Asia-Pacific Studies, Waseda University
7. ความลับของแผนที่กรุงเทพฯ ฉบับภาษาจีน
นายสมชัย กวางทองพาณิชย์
งานเสวนาวิชาการจุฬาลงกรณ์ราชบรรณาลัย ครั้งที่ 3 เรื่อง
"สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม"
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แผนที่เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความเป็นชาติ ชาวสยามเรียนรู้เทคนิควิทยาการทำแผนที่สมัยใหม่ และนำมาใช้ทำแผนที่เมือง แผนที่มณฑล และแผนที่พระราชอาณาเขต สร้างความตระหนักรู้ในภูมิลักษณ์ของพระราชอาณาจักรสยาม ในท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง เป็นพื้นฐานของการพัฒนา สร้างบ้านแปงเมือง สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
นิทรรศการ สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม นำเสนอแผนที่ประวัติศาสตร์จากพิพิธภัณฑ์กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย สำนักพิมพ์ต้นฉบับ ห้องหนังสือหายาก สำนักงานวิทยทรัพยากร ห้องปฏิบัติการแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนแหล่งเอกสารส่วนบุคคลอื่นๆ เพื่อสะท้อนบทบาทและความสำคัญของแผนที่ในประวัติศาสตร์ไทย ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จวบจนปัจจุบัน
วันอังคารที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจากคุณสิริกิติยา เจนเซน มาร่วมฟังบรรยายตลอดทั้งงาน
ตั้งแต่ ๘.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ชั้น ๗ สำนักงานวิยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจากคุณสิริกิติยา เจนเซน มาร่วมฟังบรรยาย
วิทยากร
1. แผนที่จารชนสงคราม : ธนบุรี – กรุงเทพฯ
รองศาสตราจารย์ ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ช่วงสยามในแผนที่
2. การทำแผนที่ในแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีรศรี โพวาทอง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. แผนที่ประวัติศาสตร์กับการศึกษาพัฒนาการทางกายภาพเมือง
ศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต จุลาสัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. แผนที่ประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑ์ภักดีภูธร กรมแผนที่ทหาร
พันตรีนิทัศน์ ชิตโสภณ ภัณฑารักษ์ แผนกห้องสมุดและพิพิธภัณฑ์ กรมแผนที่ทหาร
ช่วงแผนที่ในสยาม
5. เปิดหน้าประวัติศาสตร์สยาม แผนที่กรุงเทพฯ ธนบุรี
นายธงชัย ลิขิตพรสวรรค์ นายกสมาคมจดหมายเหตุไทย
6. แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๔๘o
นายมิกิ ซาคาเอะ ศาสตราจารย์มูราชิมา เออิจิ Graduate School of Asia-Pacific Studies, Waseda University
7. ความลับของแผนที่กรุงเทพฯ ฉบับภาษาจีน
นายสมชัย กวางทองพาณิชย์
ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แผนที่เป็นเครื่องมือสำคัญในการสร้างความเป็นชาติ ชาวสยามเรียนรู้เทคนิควิทยาการทำแผนที่สมัยใหม่ และนำมาใช้ทำแผนที่เมือง แผนที่มณฑล และแผนที่พระราชอาณาเขต สร้างความตระหนักรู้ในภูมิลักษณ์ของพระราชอาณาจักรสยาม ในท่ามกลางกระแสความเปลี่ยนแปลง เป็นพื้นฐานของการพัฒนา สร้างบ้านแปงเมือง สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน
นิทรรศการ สยามในแผนที่ แผนที่ในสยาม นำเสนอแผนที่ประวัติศาสตร์จากพิพิธภัณฑ์กรมแผนที่ทหาร กองบัญชาการกองทัพไทย สำนักพิมพ์ต้นฉบับ ห้องหนังสือหายาก สำนักงานวิทยทรัพยากร ห้องปฏิบัติการแผนที่และเอกสารประวัติศาสตร์ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตลอดจนแหล่งเอกสารส่วนบุคคลอื่นๆ เพื่อสะท้อนบทบาทและความสำคัญของแผนที่ในประวัติศาสตร์ไทย ในช่วงรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จวบจนปัจจุบัน
วันอังคารที่ ๕ กันยายน ๒๕๖๐ ได้รับเกียรติอย่างยิ่งจากคุณสิริกิติยา เจนเซน มาร่วมฟังบรรยายตลอดทั้งงาน
ตั้งแต่ ๘.๑๕ - ๑๓.๐๐ น. ชั้น ๗ สำนักงานวิยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
1. แผนที่จารชนสงคราม : ธนบุรี – กรุงเทพฯ
รองศาสตราจารย์ ดร. สุเนตร ชุตินธรานนท์ คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2. การทำแผนที่ในแผ่นดินสมเด็จพระพุทธเจ้าหลวง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. พีรศรี โพวาทอง คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
3. แผนที่ประวัติศาสตร์กับการศึกษาพัฒนาการทางกายภาพเมือง
ศาสตราจารย์ ดร. บัณฑิต จุลาสัย คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. แผนที่ประวัติศาสตร์ในพิพิธภัณฑ์ภักดีภูธร กรมแผนที่ทหาร
5. เปิดหน้าประวัติศาสตร์สยาม แผนที่กรุงเทพฯ ธนบุรี
6. แผนที่กรุงเทพฯ พ.ศ. ๒๔๘o
นายมิกิ ซาคาเอะ ศาสตราจารย์มูราชิมา เออิจิ Graduate School of Asia-Pacific Studies, Waseda University
7. ความลับของแผนที่กรุงเทพฯ ฉบับภาษาจีน